กิจกรรมกลางแจ้ง

แผนการสอนที่ 1
สัปดาห์ที่ 1 หน่วย น้ำเพื่อชีวิต
กิจกรรม กลางแจ้ง
เรื่อง การเล่นเครื่องเล่นสนาม
ชั้นอนุบาล 1/2 วันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 10.30 – 11.10 น. ( 40 นาที )
สาระสำคัญ
การเล่นเครื่องเล่นสนามเป็นการพัฒนาด้านร่างกายด้านกล้ามเนื้อใหญ่ และการใช้ไหวพริบแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้เด็กสนุกสนานในการเล่น
2. เพื่อให้เด็กปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนได้
3. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดี

สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้
การเล่นเครื่องเล่นสนามช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายทั้งด้านกล้ามเนื้อ
มัดใหญ่ รวมถึงการมีไหวพริบในการเล่นเกม
2. ประสบการณ์สำคัญ
การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก – ใหญ่
การเล่นเครื่องเล่นสนาม
การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่องราว / เหตุการณ์ที่สนุกสนานต่างๆ
การเล่นรายบุคคล / การเล่นเป็นกลุ่ม
การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
การแก้ปัญหาในการเล่น















กิจกรรมการเรียนการสอน



1. ครูจัดเด็กเป็นรูปวงกลมแล้วอบอุ่นร่างกายด้วยท่าต่างๆ ดังนี้



1.1 กระโดดตบ



1.2 แตะสลับ



1.3 หมุนไหล่ / เข่า



1.4 สลัดมือ



1.5 วิ่งอยู่กับที่



2. ครูสร้างข้อตกลงในการเล่นเครื่องเล่นสนามกับเด็ก



3. ครูให้เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างเสรีโดยมีครูคอยดู



4. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมการเล่นเครื่องเล่นสนาม



5. ครูให้เด็กไปล้างมือเตรียมตัวไปรับประทานอาหารกลางวัน







สื่อการเรียนการสอน



เครื่องเล่นสนาม







การวัดและการประเมินผล



สังเกตพฤติกรรมของเด็ก



1. การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างสนุกสนาน



2. การปรับตัวเข้ากับเพื่อนของเด็ก



3. พัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก































แผนการสอนที่ 2







สัปดาห์ที่ 1 หน่วย น้ำเพื่อชีวิต



กิจกรรม กลางแจ้ง



เรื่อง การส่งบอล



ชั้นอนุบาล 1/2 วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 10.30 – 11.10 น. ( 40 นาที )







สาระสำคัญ



การเล่นเกมส่งบอลเป็นการพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก และการใช้ไหวพริบและความเร็ว







จุดประสงค์การเรียนรู้



1. เพื่อให้เด็กสนุกสนานในการเล่นเกม



2. เพื่อให้เด็กปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนได้



3. เด็กมีประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา



4. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดี



5. เพื่อให้เด็กมีไหวพริบในการแก้ปัญหา







สาระการเรียนรู้



1. สาระที่ควรเรียนรู้



การเล่นเกมส่งบอลช่วยพัฒนาด้านกล้ามเนื้อมือมัดเล็กรวมถึงการมีไหวพริบ



ปฏิภาณในการเล่นเกม



2. ประสบการณ์สำคัญ



2.1 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก – ใหญ่



2.2 การเล่นเครื่องเล่นสนาม



2.3 การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่องราว / เหตุการณ์ที่สนุกสนานต่างๆ



2.4 การเล่นรายบุคคล / การเล่นเป็นกลุ่ม



2.5 การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน



2.6 การแก้ปัญหาในการเล่น















กิจกรรมการเรียนการสอน



1. ครูจัดเด็กเป็นรูปวงกลมแล้วอบอุ่นร่างกายด้วยท่าต่างๆ ดังนี้



1.1 กระโดดตบ



1.2 แตะสลับ



1.3 หมุนไหล่ / เข่า / คอ



1.4 สลัดมือ



1.5 วิ่งอยู่กับที่



2. ครูสร้างข้อตกลงในการเล่นเกมกับเด็ก



3. ครูอธิบายวิธีการเล่นให้เด็กๆดู ดังนี้



3.1 ครูให้เด็กจับมือกันเป็นรูปวงกลมแล้วนั่งลง



3.2 ครูนำบอลส่งให้เด็กๆ 2 จุด โดยให้ส่งให้เพื่อนทางด้านขวามือ



3.3 ในขณะที่ส่งลูกบอลไปเด็กที่นั่งอยู่ในแถวช่วยกันร้องเพลงเมื่อได้ยินเสียงนกหวีดลูกบอลอยู่ที่ใครให้ลุกขึ้น



4. ครูทดลองให้เด็กเล่นเกมเองโดยมีครูคอยดู



5. ครูให้เด็กช่วยเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย







สื่อการเรียนการสอน



1. ลูกบอล



2. นกหวีด







การวัดและการประเมินผล



สังเกตพฤติกรรมของเด็ก



1. การเล่นเครื่องเล่นอย่างสนุกสนาน



2. การปรับตัวเข้ากับเพื่อน



3. การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา



4. พัฒนาการทางด้านร่างกาย



5. การมีไหวพริบในการแก้ปัญหา























































































































แผนการสอนที่ 5







สัปดาห์ที่ 1 หน่วย น้ำเพื่อชีวิต



กิจกรรม กลางแจ้ง



เรื่อง รีรีข้าวสาร



ชั้นอนุบาล 1/2 วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 10.30 – 11.10 น. ( 40 นาที )







สาระสำคัญ



การเล่นรีรีข้าวสารเป็นการพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และการใช้ไหวพริบและความเร็ว







จุดประสงค์การเรียนรู้



1. เพื่อให้เด็กสนุกสนานในการเล่นเกม



2. เพื่อให้เด็กปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนได้



3. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดี



4. เพื่อให้เด็กมีไหวพริบในการแก้ปัญหา







สาระการเรียนรู้



1. สาระที่ควรเรียนรู้



การเล่นรีรีข้าวสารช่วยพัฒนาด้านกล้ามเนื้อมือมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่



รวมถึงการมีไหวพริบปฏิภาณในการเล่น



2. ประสบการณ์สำคัญ



2.1 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก – ใหญ่



2.2 การเล่นเครื่องเล่นสนาม



2.3 การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่องราว / เหตุการณ์ที่สนุกสนานต่างๆ



2.4 การเล่นรายบุคคล / การเล่นเป็นกลุ่ม



2.5 การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน



2.6 การแก้ปัญหาในการเล่น















กิจกรรมการเรียนการสอน



1. ครูจัดเด็กเป็นรูปวงกลมแล้วอบอุ่นร่างกายด้วยท่าต่างๆ ดังนี้



1.1 กระโดดตบ



1.2 แตะสลับ



1.3 หมุนไหล่ / เข่า / คอ



1.4 กระโดดอยู่กับที่



1.5 วิ่งอยู่กับที่ / เคลื่อนที่



2. ครูสร้างข้อตกลงในการเล่นเกมกับเด็ก



3. ครูอธิบายวิธีการเล่นให้เด็กๆดู ดังนี้



3.1 ครูขออาสาเด็ก 2 คนเป็นสะพานลอด



3.2 ครูจัดแถวเด็กเป็นแถวเดียวให้เกาะเอวกันเดินลอดสะพานแล้วท่องคำคล้องจอง รีรี



ข้าวสารไปเรื่อยๆจนจบ พร้อมกับคนที่เป็นสะพานก็ครอบสะพานลงหาเพื่อนที่อยู่ใต้สะพาน



3.3 คนที่โดนสะพานครอบให้มาต่อด้านหลังสะพานไปเรื่อยๆจนเหลือคนสุดท้าย



4. ครูทดลองให้เด็กเล่นเกมเองโดยมีครูคอยดู







สื่อการเรียนการสอน



1. คำคล้องจองรีรีข้าวสาร







การวัดและการประเมินผล



สังเกตพฤติกรรมของเด็ก



1. การเล่นอย่างสนุกสนานของเด็ก



2. การปรับตัวเข้ากับเพื่อนของเด็ก



3. พัฒนาการทางด้านร่างกาย



4. การมีไหวพริบในการแก้ปัญหา





















แผนการสอนที่ 4







สัปดาห์ที่ 1 หน่วย น้ำเพื่อชีวิต



กิจกรรม กลางแจ้ง



เรื่อง การเล่นน้ำเล่นทราย



ชั้นอนุบาล 1/2 วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 10.30 – 11.10 น. ( 40 นาที )







สาระสำคัญ



การเล่นน้ำเล่นทรายเป็นการพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็ก







จุดประสงค์การเรียนรู้



1. เพื่อให้เด็กสนุกสนานในการเล่น



2. เพื่อให้เด็กปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนได้



3. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดี



4. เพื่อให้เด็กมีไหวพริบในการแก้ปัญหา



5. เพื่อให้เด็กมีประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา







สาระการเรียนรู้



1. สาระที่ควรเรียนรู้



การเล่นน้ำเล่นทรายเป็นการพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กรวมไปถึงการ



สร้างจินตนาการของเด็กในการเล่นทราย



2. ประสบการณ์สำคัญ



2.1 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก – ใหญ่



2.2 การเล่นเครื่องเล่นสนาม



2.3 การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่องราว / เหตุการณ์ที่สนุกสนานต่างๆ



2.4 การเล่นรายบุคคล / การเล่นเป็นกลุ่ม



2.5 การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน



2.6 การแก้ปัญหาในการเล่น















กิจกรรมการเรียนการสอน



1. ครูจัดเด็กเป็นรูปวงกลมแล้วอบอุ่นร่างกายด้วยท่าต่างๆ ดังนี้



1.1 กระโดดตบ



1.2 แตะสลับ



1.3 หมุนไหล่



1.4 กระโดดอยู่กับที่



1.5 วิ่งอยู่กับที่



2. ครูสร้างข้อตกลงในการเล่นน้ำเล่นทรายกับเด็ก



3. ครูอธิบายวิธีการเล่นน้ำเล่นทรายให้เด็กๆฟัง ดังนี้



3.1 ครูแบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม ชาย - หญิง



3.2 ครูให้เด็กผู้ชายเล่นทรายก่อนแล้วให้สลับกันเล่นน้ำกับกลุ่มผู้หญิง



3.3 ใกล้หมดเวลาครูให้สัญญาณเตือนให้เด็กทุกคนเปลี่ยนเสื้อผ้าให้เรียบร้อย



4. ครูและเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรม







สื่อการเรียนการสอน



1. บ่อน้ำ บ่อทราย







การวัดและการประเมินผล



สังเกตพฤติกรรมของเด็ก



1. การเล่นอย่างสนุกสนาน



2. การปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนของเด็ก



3. พัฒนาการทางด้านร่างกาย



4. การมีไหวพริบในการแก้ปัญหา



5. การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา







บันทึกหลังการสอน....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................











แผนการสอนที่ 3







สัปดาห์ที่ 1 หน่วย น้ำเพื่อชีวิต



กิจกรรม กลางแจ้ง



เรื่อง เกมวิ่งเก็บของ



ชั้นอนุบาล 1/2 วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เวลา 10.30 – 11.10 น. ( 40 นาที )







สาระสำคัญ



การเล่นเกมวิ่งเก็บของเป็นการพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ และการใช้ไหวพริบและความเร็ว







จุดประสงค์การเรียนรู้



1. เพื่อให้เด็กสนุกสนานในการเล่นเกม



2. เพื่อให้เด็กปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนได้



3. เด็กมีประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา



4. เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดี



5. เพื่อให้เด็กมีไหวพริบในการแก้ปัญหา







สาระการเรียนรู้



1. สาระที่ควรเรียนรู้



การเล่นเกมวิ่งเก็บของช่วยพัฒนาด้านกล้ามเนื้อมือมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่



รวมถึงการมีไหวพริบปฏิภาณในการเล่นเกม



2. ประสบการณ์สำคัญ



2.1 การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก – ใหญ่



2.2 การเล่นเครื่องเล่นสนาม



2.3 การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับเรื่องราว / เหตุการณ์ที่สนุกสนานต่างๆ



2.4 การเล่นรายบุคคล / การเล่นเป็นกลุ่ม



2.5 การเล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน



2.6 การแก้ปัญหาในการเล่น











กิจกรรมการเรียนการสอน



1. ครูจัดเด็กเป็นรูปวงกลมแล้วอบอุ่นร่างกายด้วยท่าต่างๆ ดังนี้



1.1 กระโดดตบ



1.2 แตะสลับ



1.3 หมุนไหล่ / เข่า / คอ



1.4 สลัดมือ



1.5 วิ่งอยู่กับที่ / เคลื่อนที่



2. ครูสร้างข้อตกลงในการเล่นเกมกับเด็ก



3. ครูอธิบายวิธีการเล่นให้เด็กๆดู ดังนี้



3.1 ครูแบ่งเด็กออกเป็น 2 แถวเท่าๆกัน



3.2 ครูให้เด็กคนแรกของแถววิ่งไปแตะเก้าอี้ข้างหน้าแล้ววิ่งกลับมาแตะมือเพื่อนแล้ว



เพื่อนที่โดนแตะมือให้วิ่งต่อไปเรื่อยๆจนครบทุกคน



3.3 แถวไหนวิ่งครบทุกคนแล้วให้นั่งลง



4. ครูทดลองให้เด็กเล่นเกมเองโดยมีครูคอยดู



5. ครูให้เด็กช่วยเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย







สื่อการเรียนการสอน



1. เก้าอี้



2. นกหวีด







การวัดและการประเมินผล



สังเกตพฤติกรรมของเด็ก



1. การเล่นอย่างสนุกสนานของเด็ก



2. การปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนของเด็ก



3. การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา



4. พัฒนาการทางด้านร่างกาย



5. การมีไหวพริบในการแก้ปัญหา